ผลงานที่ผ่านมาของสมาคม

สมาคมพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ประเทศไทย พัฒนามาจาก
ชมรมพยาบาลกุมารเวชศาสตร์แห่งประเทศไทย มีผลการดำเนินงาน
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2540-2557 ดังนี้

1. สมาชิกชมรม

ชมรมพยาบาลกุมารเวชศาสตร์แห่งประเทศไทย มีสมาชิกทั้งหมดจำนวน 818 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 6 พฤษภาคม 2557)

2. การจัดการประชุมวิชาการ

ชมรมพยาบาลกุมารเวชศาสตร์แห่งประเทศไทยก่อนเปลี่ยนสถานภาพ ได้จัดการประชุมวิชาการ ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 ถึง 2557 จำนวน 26 ครั้ง ดังนี้

ครั้งที่ 1

Mother - Infant Interactions and Attachment for Optional Outcomes

วันที่ 22 เมษายน 2540 ณ โรงแรมสยามซิตี้
ครั้งที่ 2

Developmental Care for Optimal Outcome of Infant

วันที่ 25 พฤศจิกายน 2540 ณ โรงแรมรอยัลออร์คิด เชอราตัน
ครั้งที่ 3

Update in Pediatric Nursing

วันที่ 20 เมษายน 2541 ณ โรงแรมเรดิสัน
ครั้งที่ 4

Holistic Critical Care in Children

วันที่ 24 ตุลาคม 2541 ณ อาคารฐานเศรษฐกิจ
ครั้งที่ 5

การส่งเสริมสุขภาพเด็กไทย

วันที่ 18 ธันวาคม 2541 ณ โรงแรมรอยัลออร์คิด เชอราตัน
ครั้งที่ 6

อาหารและภูมิคุ้มกันเด็ก

วันที่ 30 เมษายน 2542 ณ โรงแรมเอสดี อเวนิว
ครั้งที่ 7

Development Outcomes of the High Risk Neonates

วันที่ 6 - 7 กันยายน 2542 ณ โรงแรมรอยัลรีเวอร์
ครั้งที่ 8

สุขภาพเด็กไทยในสหัสวรรษหน้า

วันที่ 20 ธันวาคม 2542 ณ โรงแรมรอยัลรีเวอร์
ครั้งที่ 9

Update in Pediatric Nursing

วันที่ 27 – 28 เมษายน 2543 ณ โรงแรมรอยัลออร์คิด เชอราตัน
ครั้งที่ 10

การเลี้ยงดูเด็กไทยให้เก่งดี มีสุข : บทบาทพยาบาล

วันที่ 12 ธันวาคม 2543 ณ โรงแรมรอยัลรีเวอร์
ครั้งที่ 11

Update in Pediatric Nursing Research

วันที่ 20 เมษายน - 1 พฤษภาคม 2544 ณ โรงแรมรอยัลรีเวอร์
ครั้งที่ 12

การพยาบาลคุณภาพเพื่อสุขภาพเด็กไทย

วันที่ 16 - 17 พฤษภาคม 2545 ณ โรงแรมรอยัลรีเวอร์
ครั้งที่ 13

การประชุมพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ภาคพื้นเอเชีย ครั้งที่ 1 (The 1st Asian Congress on Pediatric Nursing) : Towards the Unity for the Quality of Child Health

วันที่ 5-7 พฤศจิกายน 2546 ณ โรงแรมโซฟิเทล เซ็นทรัล
ครั้งที่ 14

กลยุทธ์สู่ความเป็นเลิศทางการพยาบาลเด็ก

วันที่ 2-3 เมษายน 2547 ณ โรงแรมทวิน ทาวเวอร์ กรุงเทพฯ
ครั้งที่ 15

วิทยาการก้าวหน้าทางการพยาบาลเด็ก

วันที่ 1-2 เมษายน 2548 ณ โรงแรมเรดิสัน กรุงเทพฯ
ครั้งที่ 16

วิทยาการก้าวหน้าทางการพยาบาลเด็ก

วันที่ 29-31 มีนาคม 2549 ณ โรงแรมเรดิสัน กรุงเทพฯ
ครั้งที่ 17

วิทยาการก้าวหน้าทางการพยาบาลเด็ก

วันที่ 2-5 เมษายน 2550 ณ โรงแรม เอส.ดี.อเวนิว กรุงเทพฯ
ครั้งที่ 18

วิทยาการก้าวหน้าทางการพยาบาลเด็กและอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะทางการพยาบาลเด็ก

วันที่ 21-23 พฤษภาคม 2551 ณ โรงแรมเรดิสัน กรุงเทพฯ
ครั้งที่ 19

วิทยาการก้าวหน้าทางการพยาบาลเด็ก

วันที่ 18-20 พฤษภาคม 2552 ณ โรงแรมเรดิสัน กรุงเทพฯ
ครั้งที่ 20

วิทยาการก้าวหน้าทางการพยาบาลเด็กและอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาทักษะทางการพยาบาลเด็ก

วันที่ 10-13 พฤษภาคม 2553 ณ โรงแรมเรดิสัน กรุงเทพฯ
ครั้งที่ 21

การประชุมวิชาการ End of Life Nursing Education Course

วันที่ 8-10 พฤศจิกายน 2553 ณ โรงแรมเรดิสัน กรุงเทพฯ
ครั้งที่ 22

วิทยาการก้าวหน้าทางการพยาบาลเด็ก

วันที่ 9-11 พฤษภาคม 2554 ณ โรงแรมโกลเด้นทิวลิป (เรดิสัน) กรุงเทพฯ
ครั้งที่ 23

การประชุมวิชาการ End of Life Nursing Education Course รุ่นที่ 2

วันที่ 19-20 กุมภาพันธ์ 2555 ณ โรงแรมโกลเด้นทิวลิป ซอฟเฟอริน กรุงเทพฯ
ครั้งที่ 24

วิทยาการก้าวหน้าทางการพยาบาลเด็ก

วันที่ 10 - 12 พฤษภาคม 2555 ณ โรงแรมโกลเด้นทิวลิป (เรดิสัน) กรุงเทพฯ
ครั้งที่ 25

วิทยาการก้าวหน้าทางการพยาบาลเด็ก

วันที่ 13 - 15 พฤษภาคม 2556 ณ โรงแรมโกลเด้นทิวลิป (เรดิสัน) กรุงเทพฯ
ครั้งที่ 26

วิทยาการก้าวหน้าทางการพยาบาลเด็ก

วันที่ 14 - 16 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมโกลเด้นทิวลิป (เรดิสัน) กรุงเทพฯ

3. การบริการวิชาการ

ชมรมพยาบาลกุมารเวชศาสตร์แห่งประเทศไทย ร่วมกับภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เปิดบริการให้คำปรึกษาปัญหาสุขภาพ และการเลี้ยงดูเด็กทางโทรศัพท์หมายเลข 02-4129079 ในวันและเวลาราชการ มีพ่อแม่และผู้เลี้ยงดูเด็กสนใจโทรศัพท์เข้ามาขอรับคำปรึกษาอย่างสม่ำเสมอ

4. การพัฒนาศักยภาพเชิงวิชาการและการวิจัยของสมาชิก

  1. สนับสนุนให้สมาชิกเข้าร่วมประชุมวิชาการ การพยาบาลกุมารเวชศาสตร์เพื่อเป็นการเพิ่มพูนและฟื้นฟูศักยภาพเชิงวิชาการ
  2. สนับสนุนเงินทุนในการทำวิจัยด้านการพยาบาลเด็กและครอบครัว รวมทั้งการทำวิทยานิพนธ์และดุษฎีนิพนธ์

การสนับสนุนทุนในการประชุมวิชาการและวิจัย พ.ศ.2544-2557

ปี 2544

การสนับสนุน จำนวน (คน) จำนวน (บาท)
ค่าลงทะเบียนประชุมวิชาการ 42 309,341
ค่าลงทะเบียนอบรมเฉพาะทาง 1 10,000
สนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ 1 10,000
สนับสนุนงานวิจัย 1 5,200
รวม 45 334,540

ปี 2545

การสนับสนุน จำนวน (คน) จำนวน (บาท)
ค่าลงทะเบียนประชุมวิชาการ 24 98,659
ค่าลงทะเบียนอบรมเฉพาะทาง 3 30,000
สนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ 2 10,000
สนับสนุนงานวิจัย - -
รวม 29 138,659

ปี 2546

การสนับสนุน จำนวน (คน) จำนวน (บาท)
ค่าลงทะเบียนประชุมวิชาการ 128 375,000
ค่าลงทะเบียนอบรมเฉพาะทาง 1 6,000
สนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ 3 20,000
สนับสนุนงานวิจัย - -
รวม 132 401,000

ปี 2547

การสนับสนุน จำนวน (คน) จำนวน (บาท)
ค่าลงทะเบียนประชุมวิชาการ 34 41,000
ค่าลงทะเบียนอบรมเฉพาะทาง - -
สนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ 1 5,000
สนับสนุนงานวิจัย 2 22,800
รวม 37 68,800

ปี 2548

การสนับสนุน จำนวน (คน) จำนวน (บาท)
ค่าลงทะเบียนประชุมวิชาการ 49 55,000
ค่าลงทะเบียนอบรมเฉพาะทาง 7 15,560
สนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ - -
สนับสนุนงานวิจัย - -
รวม 56 70,560

ปี 2549

การสนับสนุน จำนวน (คน) จำนวน (บาท)
ค่าลงทะเบียนประชุมวิชาการ 47 77,000
ค่าลงทะเบียนอบรมเฉพาะทาง 2 6,000
สนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ 4 20,000
สนับสนุนงานวิจัย 1 17,000
รวม 54 120,000

ปี 2550

การสนับสนุน จำนวน (คน) จำนวน (บาท)
ค่าลงทะเบียนประชุมวิชาการ 71 177,500
สนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ - -
รวม 71 177,500

ปี 2551

การสนับสนุน จำนวน (คน) จำนวน (บาท)
ค่าลงทะเบียนประชุมวิชาการ 42 75,600
สนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ 4 20,000
รวม 46 95,000

ปี 2552

การสนับสนุน จำนวน (คน) จำนวน (บาท)
ค่าลงทะเบียนประชุมวิชาการ 83 224,100
รวม 83 224,100

ปี 2553

การสนับสนุน จำนวน (คน) จำนวน (บาท)
ค่าลงทะเบียนประชุมวิชาการ 46 121,200
ค่าลงทะเบียนประชุม ELNEC 14 21,000
รวม 60 142,200

ปี 2554

การสนับสนุน จำนวน (คน) จำนวน (บาท)
ค่าลงทะเบียนประชุมวิชาการ 43 116,100
รวม 43 116,100

ปี 2555

การสนับสนุน จำนวน (คน) จำนวน (บาท)
ค่าลงทะเบียนประชุมวิชาการ 48 129,600
ค่าลงทะเบียนประชุม ELNEC 4 3,200
รวม 52 132,800

ปี 2556

การสนับสนุน จำนวน (คน) จำนวน (บาท)
ค่าลงทะเบียนประชุมวิชาการ 60 162,000
รวม 60 162,000

ปี 2557

การสนับสนุน จำนวน (คน) จำนวน (บาท)
ค่าลงทะเบียนประชุมวิชาการ 56 151,200
รวม 56 151,200

5. การให้สวัสดิการแก่สมาชิก

ได้การมอบเงินช่วยเหลือแก่สมาชิก กรณีประสบอุทกภัยในจังหวัดต่างๆ ในปี พ.ศ. 2554 จำนวน 102 คน เป็นเงินจำนวน 110,000 บาท

6. การจัดทำ Clinical Nursing Practice Guideline (CNPG)

ชมรมฯ ได้จัดทำ CNPG เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติการพยาบาล จำนวน 2 ครั้ง ดังนี้

ครั้งที่ 1

สภาการพยาบาลได้ขอความร่วมมือชมรมฯ ในการจัดทำ CNPG เพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติการพยาบาล เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งชมรมฯ ได้จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อจัดทำ CNPG เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2545 โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมจากสถาบันต่างๆ ทั้งสถาบันการศึกษา และโรงพยาบาล รวมทั้งสิ้น 11 สถาบัน มีผู้เข้าร่วมประชุม 65 คน โดยได้พิจารณาปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยของผู้ป่วยเด็กจำนวน 5 ปัญหา และได้จัดทำตลอดจนนำไปทดลองปฏิบัติกับผู้ป่วยเด็ก จำนวน 5 เรื่อง คือ

  1. Neonatal Jaundice
  2. Pneumonia
  3. Status Asthmaticus
  4. Diarrhea
  5. Foreign body Aspiration

ครั้งที่ 2

สภาการพยาบาลได้ขอความร่วมมือชมรมฯ ในการจัดทำแนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับผู้ป่วยเด็กระยะสุดท้าย ( CNPG on Pediatric Palliative Care) เพื่อส่งเสริมการใช้สิทธิด้านสุขภาพของประชาชนตามพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติมาตรา 12 โดยรับการสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติโดยมีผู้ร่วมจัดทำเป็นผู้แทนจากหน่วยงานต่างๆ คือ จาก ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลศิริราช โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และวชิรพยาบาล จำนวน 19 คน ได้ประชุมเพื่อจัดทำ CNPG on Pediatric Palliative Care จำนวน 8 ครั้ง และผ่านการวิพากย์โดยผู้เชี่ยวชาญ และส่งให้ผู้ทรงคุณวุฒิ ประกอบด้วยแพทย์ นักจิตวิทยา พยาบาล พิจารณาเนื้อหาอีกครั้ง หลังจากนั้นได้นำข้อมูลที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิมาปรับแก้ไขให้มีความสมบูรณ์

สาระของแนวปฏิบัติประกอบด้วย 5 ด้าน คือ

  1. แนวปฏิบัติการพยาบาลในการจัดการอาการปวด
  2. แนวปฏิบัติการพยาบาลด้านจิตสังค
  3. แนวปฏิบัติการพยาบาลด้านจิตวิญญาณ
  4. แนวปฏิบัติการพยาบาลในระยะใกล้เสียชีวิต
  5. แนวปฏิบัติการพยาบาลภายหลังผู้ป่วยเด็กเสียชีวิต